ในวันแต่งงาน ตอนเช้าที่บ้านเจ้าสาวจะทำบุญเลี้ยงพระ เมื่อถึงเวลาจวน ๑๑ นาฬิกา ฝ่ายเจ้าสาวจะจัดสำรับคาวหวาน ๔ สำรับ เรียกว่า
“ของเลื่อน” หรือ
“ของเลื่อนเตือนขันหมาก” โดยให้ผู้มีหน้ามีตาเป็นผู้นำไปยังบ้านเจ้าบ่าว
เมื่อผู้นำของเลื่อนไปถึงบ้านเจ้าบ่าว
ฝ่ายเจ้าบ่าวจะรับไว้แล้วคืนภาชนะพร้อมทั้งจัดของชำร่วยให้แก่ผู้นำของเลื่อน
ของเลื่อนเตือนขันหมากจึงเป็นการบอกกล่าวแก่ฝ่ายเจ้าบ่าวว่า
ฝ่ายเจ้าสาวเสร็จธุระเรื่องเลี้ยงพระแล้วให้เคลื่อนกระบวนนำขันหมากไปได้
หลังจากนั้น ฝ่ายเจ้าบ่าวจะเคลื่อนกระบวนขันหมากไปยังบ้านเจ้าสาวตามฤกษ์ที่กำหนดไว้ ขันหมากจะแบ่งเป็นขันหมากเอก ขันหมากโทหรือขันหมากเลว (ธรรมดา) พร้อมทั้งเงินสินสอดและผ้าไหว้ “” หรือ
“ของเลื่อนเตือนขันหมาก” โดยให้ผู้มีหน้ามีตาเป็นผู้นำไปยังบ้านเจ้าบ่าว
เมื่อผู้นำของเลื่อนไปถึงบ้านเจ้าบ่าว
ฝ่ายเจ้าบ่าวจะรับไว้แล้วคืนภาชนะพร้อมทั้งจัดของชำร่วยให้แก่ผู้นำของเลื่อน
ของเลื่อนเตือนขันหมากจึงเป็นการบอกกล่าวแก่ฝ่ายเจ้าบ่าวว่า
ฝ่ายเจ้าสาวเสร็จธุระเรื่องเลี้ยงพระแล้วให้เคลื่อนกระบวนนำขันหมากไปได้
เมื่อกระบวนขันหมากมาถึงประตูบ้านเจ้าสาวแล้วจะมีคนในบ้านเจ้าสาวถือแพรสี
สายสร้อยทองคำ หรือเข็มขัดทองคำกั้นขวางทางไว้ ๓ ชั้น เรียกกันว่า “ประตูขันหมาก” ชั้นที่
๑ คือ ประตูบ้าน เรียกว่า “ประตูชัย” ชั้นที่
๒ คือ ประตูบันไดนอกชานเรือน เรียกว่า “ประตูเงิน” และชั้นที่ ๓ คือ ประตูเรือนหอ เรียกว่า “ประตูทอง” โดยก่อนที่จะผ่านแต่ละประตู
เฒ่าแก่ฝ่ายเจ้าบ่าวต้องให้เงิน ค่าเปิดประตูขันหมากเรื่องเลี้ยงพระแล้วให้เคลื่อนกระบวนนำขันหมากไปได้
หลังจากนั้น ฝ่ายเจ้าบ่าวจะเคลื่อนกระบวนขันหมากไปยังบ้านเจ้าสาวตามฤกษ์ที่กำหนดไว้ ขันหมากจะแบ่งเป็นขันหมากเอก ขันหมากโทหรือขันหมากเลว (ธรรมดา) พร้อมทั้งเงินสินสอดและผ้าไหว้ “
0 Response to "พิธียกขันหมาก"
แสดงความคิดเห็น